Forex Fx Adverger














ส่วนการหา ที่ผมยังแกะออกไม่หมด เอาที่ผมพอมองออกและอธิบายได้นะครับ จะตีกรอบชั้นราคาของ demand  แท่งเขียว H1 แล้ว ชั้นแรก เมื่อ h1 มีการกลับตัว  และเส้น กลาง เป็นชั้นราคาของ demand ็4 เส้นล่าง คือ เนื้อเทียนล่างสุด ที่มีการซื้อขายเกิดขึ้นตอนนี้

ซึ่งต้องยืนยันให้ได้ ทั้ง h1 และ h4 ประกอบกัน เพื่อยืนยัน การสร้างจุดกลับตัวอย่างแท้งจริง ซึ่งตลาดจะพยาม สะสม และ เคลียเพลย์เยอร์ในชั้รราคานี้ ซึ่งเหตุผล ตามเงื่อนไงก็ คือ ราคาที่ตลาดสนใจตอนนี้ การเล่นสูงหรือต่ำกว่าราคาตรงนี้ เป็นการฟอลโล่ของเม่า เมื่อราคาไปต่อไม่ได้ จะเหลือเพียงใส้ซึ่งก็คือการปิดโพสิชั่น ที่เห็นตอนนี้

คือตลาดฟอลโล่เซล และราคาไปต่อไม่ได้ เพลเยอร์จึงปิดโพสิชั่นเซล ทำให้เนื้อเทียนลอยตัว หรือเกิดการดึงตัวกลับนั่นเอง หรือเราเรียกว่าขู่บาย ลองหามุมมองที่ตัวเองเข้าใจได้ก็แล้วกันครับ แต่หลักๆ เราเรียกการขู่นั่นเอง

ถ้าดู m5 จะเห็นได้ชัดว่า ราคาตรงนี้ เป็นต้านของแท่งทดสอบเงื่อนไข ซึ่งเป็นจุดที่ดีที่สุด ของฝั่งเซล จึงมีการต่อสู้ราคาระหว่างเซลลิมิต และฝั่งฟอลโล่บาย เมื่อเซลหมดกำลังและปิดโพสิชันไปกราฟจึงดึงตัวกลับ นั่นคือการ ปิดโพสิชัน

หรือ ถ้ามองภาพรวมเราไม่มองแท่งต่อแท่ง จะเห็นว่า กราฟ พยายามสร้างต้านที่ต่ำลงเพื่อให้ เกิดการฟอลโล่เซลนั่นเอง นะ่นคือ ฝั่งที่ถูกลากคือฝั่งเซล การเข้าเซลจึงต้องเข้าออกให้ไวแล้วชัดเจน ซึ่งก็คือหลักการใช้ ชั้นราคาของ @King&Mam

แต่โซนนี้ ยังไม่ การสะสมที่น้อยแท่งเลยพอเข้าใจ จุดที่ มีการสะสมมานาน เกิน PA หลายครั้ง เส้นราคาตรงนั้น หลายจุดผมก็ยังไม่ค่อยจะเข้าใจเท่าไร @King&Mam  เดี๋ยวต้อง มองบ่อยๆ

ตลาดจะมีราคาซื้อขาย ณ ช่วงเวลา นั้นๆ  (Demand Supply)

สถานการณ์ ก็คือ คนที่ติด sell ทยอย ปิด position ในราคาที่เปิด + คนเข้า buy จำนวนหนึ่ง
ทีนี้ มีความเปนไปได้ว่า จะกด ให้คนที่ปิด sell เสียดายไม้ แล้วหันมา follow ใหม่ หรือ จะ ดีดกลับ

ประมาณนั้นครับ ซึ่งการสะสม เราไม่สามารถบอกได้ว่าตลาดจะสะสม นานแค่ใหน แต่สถานะการคือ เมื่อ มีการขู่ที่ชัดเจน และเริ่มสะสมอีกครั้ง นั่นแปลว่า กราฟพร้อมจะไปแล้วนั่นเอง
ดีงนั้น เทคนิคของ King ก็ คือ เข้าในจังหวะที่คน ที่ถือ sell ปิด position

ใช่ครับ  ชั้นราคาของเขา จึงขยับ ตาม เนื้อเทียน ของ h4 ที่จบแท่ง ยืนยัน โซนดีมานและซัพพลาย



ลองฝึกประเมินการสะสมดูครับ อันนี้เพิ่งจบไป เดี๋ยว ผมจะลองตัดต่อ ภาพรวมให้ดู ว่าเหมือนและต่างกันยังไง

ลองสังเกตุการสะสมนาน สะสมน้อย แต่ละ ช่วงเวลาดูครับ ส่งผลต่อการบินการทุบชัดเจน เพราะแท่งนี้สะสมมายาวนาน มีหลายแท่งบิน/ทุบให้เห็นระหว่างทาง




ใครไม่เห็นภาพ ก็นึกถึง การเคลียคนฟอลโล่ ด้วยเงื่อนการเคลียคนฟอลโล่ดูครับ


นี่เป็นแท่งปัจจุบันที่ตลาดมาเคลีย ต่อจากแท่งที่แล้ว
ถ้าไม่ผ่านจุดเคลียฟอลโล่ คือตลาดพยามยาม ลดคนกำไร ซึ่งคือเซล โดยการขู่ฟอลโล่เซล แสดงว่าตลาดพยายาม สะสมเซลอยู่ กราฟจะย่อลงมาอีก นั่นอีกเหตุผล ในการมองภาพรวมตลาดครับ ว่าเพลเยอร์ฝั่งใหนกำลังถูกล่อ และเคลียอยู่ แสดงว่า ภาพรวมใน H4 จะต้องการฟอลล่เซลให้เราเห็น
อันนี้คือการมแองแบบแท่งต่อแท่ง แต่สิ่งยืนยันได้ชัดเจน ลองไปประเมินภาพรวมใน H4 อีกที
นั่นคือ เหตุผลของแต่ละเงื่อนไข 

ที่ผมพาดูมาทั้งคืน แล้วย้อนมาส่องชั้นราคาของ @King&Mam  ดูอีกที สิ่งที่เขาพยายามจะบอกคือ ชั้นราคา คือ โซนราคาที่ตลาดสนใจเวลาปัจจุบัน คือส่วนที่แมทกันของเนื้อเทียนเพราะมีเพลเยอร์ครบทั้งบายและเซล ส่วนซัพพลายโซน คือคนกำไร ตลาดพยายามไปขู่ลดปรมาณมาณลงก่อนจะขยับโซนลงไปเล่นในชั้นต่อไป เราจึงต้องขยับเส้นตาม เพลเยอร์ตลา่ดอยู่เสมอ

อันนี้เท่าที่ผม จะอธิบายได้ในมุมมองของ ดิมานร และซัพพลาย ตลาด นะ ยังไม่ทั้งหมดที่ผมเข้าใจ เผื่อใครจะนึกภาพออก และ สร้างโซนได้ดีขึ้น ถ้าเหตุผล ของ เงื่อนไข ในการเคลียคนกำไร ก็ลองดูแท่ง H4 ที่ยังมีซัพพลายของแท่งบายอยู่ข้างล่างอยู่ เหตุผลเดียวกับที่ตลาดลงมาเคลียเมื่อวาน ตลาดพยายามสะสมเซล และกดดันบายอยู่ แต่ภาพรวมใน D1 ถือว่าสะสมเซลมาไกลมาก ระวังการขู่สุดท้ายดีๆ อยู่ที่ตลาดจะได้ข่าวอะไรมาช่วย น่าจะแรงและลึก ก่อนจะบิน

ยังไม่มองถึงตรงนั้น  เทร็น D1 ยัง ยังไม่น่ากลัวเท่าไร ตลาดยังมีจุดเคลียฟอลโล่ชัดเจนอยู่



จะสังเกตถได้จากวินาทีที่กราฟเป็นแท่ง H1 ครับ มันจะ ยกหรือย่อ ทันทีตอนเปลี่ยนแท่ง แต่มันจะไม่ถึงราคาปิดก่อนหน้า ลองสังเกตุจากกราฟ เทรนครับเห็นชัดเลย มีทุกแท่ง  หรือเรียกอีกอย่างคือ clear sell
แก้ clear sell หรือ buy ถ้าดู M1    จะเห็นชัดเลย



ภาพรวม จะเห็นได้ว่า ราคามันจะวิ่งอยู่บนชั้นนั้นๆ ลองดู H1 , H4 คู่กัน วงกลมๆที่วงไว้  มันคือจุด break ระหว่างชั้นราคา



จุด break เหล่านี้ เราเห็นอะไร เราจะเห็นพฤติกรรมของตลาด จะใช้ข่าว หรือ ปัจจัย ณ ขณะ ช่วงเวลานั้นๆ ดึงราคา หรือ ทุบราคา ไปที่ชั้นราคาถัดไป ที่นี้ลองย้อนกลับไปดูภาพที่ให้ด้านบน แท่งเทียนที่ break ระหว่างชั้นราคา ไม่มีแท่งไหน ที่เป็นการกระทำจากเม่า หรือ player เล็ก อย่างเราเลย แล้วมันสำคัญตรงไหนที่พูดมา เมื่อเรามองภาพรวมใหญ่ออก คราวนี้เราจะมองเห็น Demand Supply zone โคตรชัด 

ภาพต่อไปจะแสดงให้เห็นถึง จุดเข้า ออเดอร์ เป็น โซนๆ ไป 



เอาจากกราฟ ที่ผ่านมาไม่นาน ให้เราคิดเสมอว่า ถ้าราคาวิ่งอยู่ชั้นไหน ให้มองชั้นราคาบนหรือล่าง เป็นจุด ออกไม้  ต่อๆ.... เมื่อตลาด confirm ราคา ขณะนั้น 


สังเกตุเส้นเขียวซ้าย แท่งเทียนในวงกลมปิดต่ำกว่า นั่นแสดงว่า  โซนนี้จะเป็น Supply ทันทีในเวลานั้น หรือเป็นจุด sell zone เพราะอะไรถึงมั่นใจ ราคาไม่ผ่านจุดที่ขีดเส้น แล้วมันก็ทุบ มา cofirm ราคาเดียวกัน เหมือนสองแท่งที่ผ่านมา จึงทำให้มั่นใจว่าแท่งถัดมา ยังคงอยู่ใน sell zone เมื่อวานจึง ออกไม้ แบบ ovt Sell ยับๆ ไล่เปิดปิด ตามจังหวะกราฟ ลงมาเรื่อย  สุดท้าย แท่งนี้ราคาจบต่ำกว่าราคา เดิม สามแท่งที่แล้ว 


ยิ่งทำให้มั่นใจว่า กรอบราคาด้านบน  เป็น Supply หรือ sell zone ของกรอบล่างทันที 


หรือ ง่ายๆ คือถ้า ราคาดันขึ้นไป เกินเส้นเหลือง sell อย่างเดียว ที่กล่าวมา มันคือหลักการวิเคราะห์ โดยรวมจาก ทฤษฎี Price Layer


ระบบจับคู่คำสั่งซื้อหรือระบบจับคู่ง่ายๆคือระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่จับคู่คำสั่งซื้อและขายสำหรับตลาดหุ้นตลาดสินค้าโภคภัณฑ์หรือการแลกเปลี่ยนทางการเงินอื่น ๆ  ระบบจับคู่คำสั่งซื้อเป็นหัวใจสำคัญของการแลกเปลี่ยนทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดและใช้เพื่อดำเนินการคำสั่งซื้อจากผู้เข้าร่วมในการแลกเปลี่ยน

 คำสั่งซื้อมักจะถูกป้อนโดยสมาชิกของการแลกเปลี่ยนและดำเนินการโดยระบบกลางที่เป็นของการแลกเปลี่ยน  อัลกอริทึมที่ใช้ในการจับคู่คำสั่งซื้อนั้นแตกต่างกันไปในแต่ละระบบและมักจะเกี่ยวข้องกับกฎที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการที่ดีที่สุด [1]

 ระบบการจับคู่คำสั่งซื้อและระบบการสั่งซื้อโดยนัยหรือเอ็นจิ้นการบอกนัยมักเป็นส่วนหนึ่งของระบบการซื้อขายอิเล็กทรอนิกส์ขนาดใหญ่ซึ่งมักจะรวมถึงระบบการชำระเงินและศูนย์รับฝากหลักทรัพย์กลางที่เข้าถึงได้โดยแพลตฟอร์มการซื้อขายอิเล็กทรอนิกส์  บริการเหล่านี้อาจมีหรือไม่มีองค์กรที่ให้บริการระบบจับคู่คำสั่งซื้อ

 อัลกอริทึมการจับคู่จะตัดสินประสิทธิภาพและความทนทานของระบบการจับคู่คำสั่งซื้อ  มีสองสถานะสำหรับตลาดการซื้อขายอย่างต่อเนื่องโดยที่คำสั่งซื้อขายจะถูกจับคู่ทันทีหรือการประมูลที่การจับคู่เสร็จในช่วงเวลาที่แน่นอน  ตัวอย่างทั่วไปเมื่อระบบจับคู่ทำงานในสถานะประมูลเปิดที่ตลาดเมื่อมีคำสั่งซื้อจำนวนมาก

?
กลับมาที่จุดเบรคก่อน เพราะแต่ละโบรคจะเหลื่อมล้ำราคากัน เราตีเส้นจากเนื้อเทียน หรือใส้เทียน และต้องประเมินร่วมกันที่ H1 H4 ใหม กำลังสงสัยว่าจุดเบรคของ @King&Mam  คือจุดเคลียฟอลโล่ ของผมรึเปล่า ลองตีดูแล้วมันคล้ายและไม่คล้าย เลยสงสัย

อันนี้ถามดีมาก แต่ไม่รู้จะอธิบายให้เข้าใจยังไง
เพราะผมเอาวิธีการที่เราซื้อขาย โดยเห็นเป็นตัวเลข ราคา จำนวน ที่ต้องการซื้อขาย มาบวกกับ หลัก อุปสงค์ อุปทาน จึงจะเห็นภาพในหัว

ยกตัวอย่าง
Sell , Buy คือการเข้าซื้อ
TP หรือ กดปิด ออเดอร์ คือการขาย ทุกช่วงเวลา จะมีคนซื้อขาย ที่ราคาตัวเองพอใจ เมื่อสองฝ่ายได้ราคาที่พอใจ transaction จะสมบูรณ์  จากนั้น เราจะเห็นกราฟขยับ บน MT4 มีคนซื้อ ต้องมีคนขาย ในช่วงราคา นั้นๆ หรือ บน timeframe นั้นๆ


ผมตีเส้นจากราคาที่ปิดของแท่งเทียน และ จุด supply จาก time frame ใหญ่ก่อน ถ้าดูดีๆ มันจะเรียงกันเป็นเส้น เราตีจากราคาที่ผ่านมาครับ เมื่อเห็นราคาในอดีต เราก็จะพอมองถึงราคาในปัจจุบัน ผมถึงต้องอัพเดท เส้นราคาตลอดเวลา ตามราคาตลาด โดยมีเส้นสีส้มๆ คาดคะเน หรือตัชั้นราคาถัดไป
เมื่อราคาทะลุกรอบ แต่ไม่ถึงอีกกรอบ แล้วราคากลับลงมากรอบเดิม ผมถึงยัด Sell ตามที่ทำให้ดู
หรือที่ผมบอกบ่อยๆ คือ รอให้ราคาทำ PA ในกรอบผมก่อนถึงตัดสินใจ ออกไม้


อันนี้ที่ผมบอก เกี่ยวกับเรื่อง match order  จากเว็ป BX ผมทำความเข้าใจจากตรงนี้ ใครมีลองไปนั่งดูสักชั่วโมงครับ จะเข้าใจ

กำลัง จะถามตรงนี้ล่ะ ที่ว่า>>> รอให้ราคาทำ PA ในกรอบผมก่อนถึงตัดสินใจ ออกไม้ คือรอยืนยันที่กรอบถัดไปใช่ใหม ใช่ แต่ส่วนใหญ่ผมก็ซัดเลยตลอด

เรามีโซนสำหรับออกเซล แต่ราคามันดันขึ้นทะลุโซนเราแล้ว อันนี้จึงยังไม่แน่ใจว่าจะเบรคมั้ย เลยรอให้กลับเข้ามา ค่อยซัด ใช่ ผมมองว่าถ้ามัน break คือการกระทำของ จ้าว ถ้ามัน break คือมันจะไปเลย อันนี้เราจะเอาช่วงเวลาของ player แต่ละตลาดมาประกอบกันด้วย ตลาดเช้า สะสม พอบ่าย จ้าวลากกินเลย พอบ่าย สะสม comex เข้าตลาดมา ก็ซัดเลย

? ผมตีเส้นจากราคาที่ปิดของแท่งเทียน และ จุด supply จาก time frame ใหญ่ก่อน
แสดงว่า การกำหนด พท ใน H1 ถ้ามันดันอยู่ใน ซัพพลาย ของ H4 เราจะมองกรอบราคาตรงนั้น คือความพยายาม จะเบรคกรอบออกไปใช่ใหม แทนที่จะทำกำไรกรอบใหญ่ ถึงกำหนดโซนแคบๆ และทำกำไร สั้นๆ รอกราฟยืนยัน เราต้องมองภาพใหญ่ก่อน ถึงจะขยายไปส่องภาพเล็ก เราถึงจะเห็นรายละเอียด ในแต่ละ time frame เราต้องมองภาพใหญ่ก่อน ถึงจะขยายไปส่องภาพเล็ก เราถึงจะเห็นรายละเอียด ในแต่ละ time frame ( อ่อ มุมมองตรงนี้เหมือนและแตกต่าง เลยคลาดเคลื่อนกันนี่เอง ผมมองใส้เทียนคือราคาที่ตลาดสร้างกระแสให้คนฟอลโล่ เมื่อเกิดการฟอลโล่จึงปิดโพสิชั่นหนี ทิ้งไว้แค่คนขาดทุน )






ก่อน จะเข้าเรื่อง มีคีเวิด ที่ทุกคนต้องมองให้ออกก่อน คือการหา จุดฟอลโล่ ลองอ่านทำความเข้าใจกันก่อนนะครับ คนนี้อธิบายชัดเจนดี ส่งต่อจากภาพเก่าเลยละกันผมตัดแปะเก็บไว้
ภาพชุดนี้ น่าจะทำให้เข้าใจการ มองหา จุดฟอลโล่ แบบแท่งต่อแท่งได้ เดี๋ยวผมจะมาอธิบาย ภาพรวม ความแตกต่าง ของศัพที่ผมใช้กับที่@King&Mam  แต่ต้องเข้าใจการฟอลโล่กราฟก่อน

เยอะเลย เพราะหลายไม้มันล่องหนไปแล้ว ก่อนจะคิดออกด้วยซ้ำ ว่าอาจารย์ออกเพราะอะไร ถ้าเรายังคิดแบบเดิมๆ เราก็จะโดนตลาดเอาชนะ เพราะทุกวันนี้ตลาดเปลี่ยนไป อย่างที่ อ. บอกไง นี่่ล่ะ กำลังจะประเมินภาพรวม จุดเหมือน จุดแตกต่าง จุดแข็ง จุดออ่น ของแตละวิธีเลย  เพราะคนที่ไม่ชัดเจนกับจุดทำกำไร ไม่ชัดเจนกับจุดออกไม้ ถือจากกำไรเป็นขาดทุน ก็มีเยอะ คัทก็ไม่มั่นใจจะคัทตรงใหนเมื่อไรดี

จากที่ผมดูวิธีการเล่น ของพี่ @King&Mam มาระยะนึง ผมศึกษา Demand & Supply มาพอเข้าใจบ้างและ มีเรื่องใหนอีกที่สำคัญหลักๆที่ต้องดูเพิ่มเติมอีกมั้ยครับ นอกจาก พฤติกรรมกราฟ การตีเส้นราคา เวลาตลาด เพลเยอร์  pa ทรานเฟรม

เส้นประกันบาย คือแนวต้านของแท่งทุบ H4 ประกันเซลคือแนวรับของแท่งบิน H4
เล่นกับข้อมูลที่เป็นอดีตเพื่อทำนายอนาคต​ ถ้าเป็นดังคาดก็เฮ.. แต่ถ้าไม่ก็แก้ให้เป็น.. จบ​ 😅

จริงๆ ก็ไม่ใช่ทั้งอดีตและอนาคตนะครับ เป็นสิ่งที่เงือนไข ณ ปัจจุบันบอกว่ากราฟทำอะไรสำเร็จแล้วบ้าง และอะไรยังไม่ทำ ซึ่งเราใช้คาดการว่า เหลือสิ่งที่กราฟจะทำและจะไม่ทำอะไรต่อในอนาคต เป็นการประเมินอดีตจากปัจจุบัน และคาดการอนาคตจากปุจจุบัน ซึ่งจุดร่วมก็ยังเป็นปัจจุบันอยู่ และยืดหยุ่นเสมอ อย่างปัจจุบัน กราฟได้ทำเงื่อนไข เคลียเส้นประกันบายสำเร็จแล้ว แปลว่าอนาคตบายได้เปรียบ แต่ปัจจุบัน กราฟยังไม่สะสมเซล ยังไม่ขู่บาย เราจึงคาดการว่ากราฟจะกดดันบายสะสมเซล จนกราฟ หมด พท ที่จะสะสม กราฟจะสร้างจุดกลับตัวและเคลียเซลที่สะสมมา ส่วนจะถึงใหนนั้น ก็ตามดูสิ่งที่กราฟจะทำอีกที ประมาณนั้นครับ

นั่นคือสิ่งที่เงื่อนไขบอกเราว่ากราฟจะทำและไม่ทำอะไร ส่วนวิธีของ kingmam คือการอยู่กับปัจจุบันล้วนๆ และขยับโซนของชั้นราคาตามตลาดไปเรื่อยๆ โดยไม่สนใจว่า กราฟจะทำหรือไม่ทำอะไร จนกว่าจะมีการบยืนยันจุดกลับตัวหรือสร้าง PA ใหม่ นั่นคือ ความชัดเจนของการใช้ ไทม์เฟรมต่างกัน

ผมถึงบอกวิธีการของเขากระชับกว่า การประเมินเงื่อนไขแบบของผมมาก แต่ก็มีจุดด้อยคือ อาจจะเพลินจน หาไม้ลากยาวๆยาก มันมีโอกดาสลืมตัวสูงพอๆกับการใช้เงื่อนไขโดยไม่กลับมามองแท่งทดสอบเงื่อนไข และการพลาดคือ โซนที่ใช้อยู่ในจุดที่กราฟพร้อม บิน/ทุบ แปลว่าแช่ไม้ผิดที่จะหนักเหมือนกัน จุดคัทจึงต้องชัดเจน

@Kitprom  ตย. นะครับ นั่นคือที่มาที่ผมบอกการสร้างเงื่อนไขสังเกตุการผิด เราจะมองภาพรวมผิดทันที เพราะระหว่างทางกราฟก็สะสม บินทุบ ตลอดทาง เกิดเส้นประกันบาย/เซล ตลอกทาง แต่เราต้องมองให้ออก จุดสังเกตุที่กราฟจะไปจริงๆ คือแท่งใหน


ซึ่งบางครั้งก็ต้อง ใช้เงื่อนไขของชั้นราคา หรือ PA ของการสะสมที่กราฟต้องเคลีย เป็นจุดประเมินทั้งหมด เหมือนแท่งสังเกตุการปัจจุบัน จะเห็นว่ามีเบรค มีแกป การบินไม่ต่อเนื่อง ก็ต้องเอา PA ของการสะสมมาประเมินภาพรวม

อย่างที่เขาบอกครับ เราต้องปรับตัวเมื่อกราฟเล่นตุกติกเหมือนกัน บิน ทุบ ไม่ได้แปลว่าแท่งเดียวจบประมาณนั้น ถ้าตั้งแท่งสังเกตุถูก เราประเมินภาพรวมได้ครับ แต่การลงไปซัดกับกราฟจริงๆ วิธีการของ @King&Mam  ค่อนข้างชัดเจนและแม่นยำครับ แต่เราก็ควรมีกรอบประเมินตัวเองที่ชัดเจนด้วยเช่นกัน

นั่นคือสิ่งที่ผมพยายามเรียนรู้และแลกเปลี่ยน มองหาคำถาม จาก  @King&Mam เพราะการตั้งโซน ดีมาน-ซัพพลาย ของเขาชัดเจนกว่าการประกบเงื่อนไขแบบแท่งต่อแท่งมาก

ลอง ตั้งแท่งไว้สังเกตุ การสะสมดูครับ และฝึกใช้ชั้นราคาระหว่างทาง ลองดูว่าเห็นอะไรจากพฤติกรรมกราฟเพิ่มขึ้นรึเปล่า

การผิดคาดหรือไม่ผิดคาด ต้องประเมินเรื่องของการทำลาย PA ประกอบครับ หรือหลักการของชั้นราคา ของ @King&Mam  หรือ หลัก PA เพรียวๆ ของ @HiwKo วิธีตั้ง แท่งสังเกตุเพื่อประเมินการ เลยต้านผ่านใส้ ทำไฮหรือโลว เพื่อ ยืนยันว่ากราฟได้ทำเงื่อนไขได้สำเร็จไปแล้วบ้าง และระหว่างทาง กราฟชั้นราคา หรือจุดเบรคขึ้นมาระหว่างทาง เพื่อการสะสมตัว หรือการสร้างแนวรับแนวต้าน เพื่อบิน/ทุบ นั่นเอง และภาพรวมของสิ่งที่ผมว่ามาคือพฤติกรรมกราฟครับ

เหมือนเราเดาใจเพื่อนหรือแฟนว่า เกิดเหตุการแบบนี้จะทำอย่างไร จะไปที่ใหน ประเมินจากสิ่งที่ทำเป็นประจำ และเงื่อนไขก็เหมือนการคาดการว่ากราฟจะทำและไม่ทำอะไรได้บ้างนั่นเองครับ

อย่างกรอบใหม่ที่กำลังเกิดจะมองการสะสมไม่ชัดเจน การใช้ชั้นราคา หรือหลักการของ PA ประเมิน เราจะเห็นภาพกว่า อย่าง กรอบเก่า การสะสมชัดเจน เราประเมินจากการสะสมได้โดยตรง
มันก็มีความยืดหยุ่น จากมุมมองที่กราฟทำให้เห็นด้วยครับ

จะเห็นการสะสมชัดเจน ช่วงการทดสอบไฮ/โลว ของแท่งแรก ซึ่งเบรคที่เคยเป็นต้านตอนนี้จะเป็นรับของเงื่อนไขแท่งใหม่ทันที และแท่งสังเกตุใหม่ มองการสะสมไม่ชัดเจน ใช้ชั้นราคา หรือมอง PA จะหาจุดเขาได้ดีกว่า ก็ต้องยืดหยุ่นตามสถานะการด้วยครับ

ก็เป็นเรื่องที่ผมก็เรียนรู้จาก @King&Mam  เหมือนกันครับ ผมแชร์ในมุมมองที่ผมเข้าใจและให้เหตุผลได้เท่านั้นครับ

ภาพแรกนี้มีการswคือการสะสมแล้วเคลียในระยะสั้น มันสะสมแล้วเคลียมาตลอดทางสุดท้ายยแล้วจะมีการปรับหรือกวาดออเดอร์คงค้างแล้วสะสมใหม่ก่อนจะเกิดเทรน




มันทำแบบนี้ตลอดเลยเห็นไหมคับไม่ต้องข้ามกราฟไปดูแค่จุดเกิดเหตุด้วยไล่ดูมาได้ตั้งแต่ต้นเลย  แล้วจะมีจุดเคลียทั้งหมดคือเคลียออเดอร์คงค้างจากนั้นจะเป็นเทรนกลับตัวหรือเป็นเทรนขึ้นไปต่อก็ไปดูปัจจัย fandamentalเอาคับว่าระยะยาวไปทางไหน เวลาดูข่าวผมจะบอกเสมอว่ามีผลระยะกี่วันสั้นกลางยาวนั่นคือใช้ข่าวเป็นแนวโน้มไม่ ใช่เล่นเพียวเสี้ยวนาทีที่ข่าวออกแบบนั้นคนละสายกับผมต้องไปสายสไนเปอถ้าจะเล่นสายนั้น 



เมื่อเวลามันสะสมอะเราไม่รู้ว่ามันจะคลียของตอนไหนวันไหนและเวลาไหนผมจึงมองภาพรวมทั้งอาทิตโยนไม้ไว้ตามทางไม่เกิน4ไม้โดยกรอบ2-3000จุดตั้งแต่ไม้แรกถึงไม้ที่4ห่างกันไม่เกิน3000จุด






No comments:

Post a Comment